บันทึกการเรียนรู้ของพี่ ม.๓
|
สรุปการเรียนรู้ในสัปดาห์ที่
๙ ของการจัดการชุดความรู้ในวิชาภาไทย
ในสัปดาห์นี้ได้มีการปรับเปลี่ยนในเรื่องของกิจกรรมที่ทำในวันจันทร์และวันอังคารและหลักภาษาเรื่องของความงามของบทประพันธ์เป็นการสรุปหลังเรียนใน
Quarter นี้
โดยเริ่มทำกิจกรรมในวันศุกร์เลย คือกิจกรรมการทบทวนผ่านเกม ดูให้ดี เพื่อให้พี่ๆได้สนุกไปกับการเล่นและทบทวนไปพร้อม
ๆ กัน หลังจากทำกิจกรรมครูนำบัตรคำมาให้พี่ๆดู และใช้คำถามที่ว่า
บัตรคำเหล่านี้คืออะไร พี่บอล บอกว่า เป็นหลักภาษาที่เราเรียนมาทั้งหมดครับ จากนั้นครูให้พี่แต่ละคนดูบัตรคำ
และขยายความเข้าใจกับหลักภาษานั้น พี่ที่สามารถแตกแขนงความเข้าใจออกมาเป็นหัวข้อย่อย
ๆ ได้คือ พี่เพลง พี่ไอดิน พี่ณัติ
ซึ่งสามารถแยกย่อยออกมาได้ครบตามที่เราเรียนในเรื่องของหลักภาษาได้เต็ม ๑๐๐% ส่วนพี่คน
อื่น ๆ ก็สามารถที่จะแยกออกมาได้เช่นกัน จากนั้นครูให้สรุปความเข้าใจหลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping และการประเมินตนเอง โดยมีข้อตกลงไว้ว่า เราจะข้อดูลายเส้นก่อน เพื่อเป็นการตรวจเช็ค และต่อเติมในส่วนที่ขาดไป สิ่งที่งอกงามของพี่ๆในสัปดาห์นี้คือ สามารถแตกแขนงองค์ความรู้ที่เรียนไปออกมาได้ พร้อมทั้งถ่ายทอดความเข้าใจ ส่งต่อให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ไปกับเขาๆ ที่สำคัญสุดคือ ในฐานะตัวผู้สอน มองเห็นว่าพี่ๆทุกคนในการทำสรุปหลังเรียนล้วนทำด้วยความเข้าใจ บางครั้งไม่เข้าใจก็เลือกที่จะถามเพื่อนที่อยู่ข้างๆแต่ไม่ใช้การไปดูงาน แต่เป็นการขอความคิดเห็น ขอข้อมูลของเพื่อนตนเอง ปัญหาที่พบคือ พี่บ้างคนมีงานที่ค้างจากการเรียนตลอด ๑ Quarter ทำให้ต้องกลับมาจัดการงานเก่าๆให้เสร็จ ซึ่งวิธีที่ครูใช้แก้ปัญหาคือการใช้คำถามให้ได้คิดตาม สิ่งนี้เกิดจากอะไร แล้วพี่จะจัดการกับสิ่งนี้อย่างไร และใช้การชื่นชม Empower เข้าไปเพื่อเป็นการสร้างแรงให้เขาอีกครั้งหนึ่ง ย.................................................................................................................................................................................
อื่น ๆ ก็สามารถที่จะแยกออกมาได้เช่นกัน จากนั้นครูให้สรุปความเข้าใจหลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping และการประเมินตนเอง โดยมีข้อตกลงไว้ว่า เราจะข้อดูลายเส้นก่อน เพื่อเป็นการตรวจเช็ค และต่อเติมในส่วนที่ขาดไป สิ่งที่งอกงามของพี่ๆในสัปดาห์นี้คือ สามารถแตกแขนงองค์ความรู้ที่เรียนไปออกมาได้ พร้อมทั้งถ่ายทอดความเข้าใจ ส่งต่อให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ไปกับเขาๆ ที่สำคัญสุดคือ ในฐานะตัวผู้สอน มองเห็นว่าพี่ๆทุกคนในการทำสรุปหลังเรียนล้วนทำด้วยความเข้าใจ บางครั้งไม่เข้าใจก็เลือกที่จะถามเพื่อนที่อยู่ข้างๆแต่ไม่ใช้การไปดูงาน แต่เป็นการขอความคิดเห็น ขอข้อมูลของเพื่อนตนเอง ปัญหาที่พบคือ พี่บ้างคนมีงานที่ค้างจากการเรียนตลอด ๑ Quarter ทำให้ต้องกลับมาจัดการงานเก่าๆให้เสร็จ ซึ่งวิธีที่ครูใช้แก้ปัญหาคือการใช้คำถามให้ได้คิดตาม สิ่งนี้เกิดจากอะไร แล้วพี่จะจัดการกับสิ่งนี้อย่างไร และใช้การชื่นชม Empower เข้าไปเพื่อเป็นการสร้างแรงให้เขาอีกครั้งหนึ่ง ย.................................................................................................................................................................................
สรุปการเรียนรู้ในสัปดาห์ที่
๙ ของการเรียนในวิชาภาไทย
ในสัปดาห์นี้ได้มีการปรับเปลี่ยนในเรื่องของกิจกรรมที่ทำในวันพุธและวันศุกร์และหลักภาษาเรื่องของการเขียนอัตชีวประวัติของตนเองเป็นการสรุปหลังเรียนใน
Quarter นี้ โดยเริ่มจากการอ่านวรรณกรรมให้จบตรงตามเป้าหมายที่เราว่างไว้
ในวันนี้ครูฟ้าเป็นคำนำวงกิจกรรมการอ่านวรรณกรรม
โดยการอ่านทั้งในรูปแบบการอ่านออกเสียงและอ่านในใจ
เมื่ออ่านจบช่วยกันสรุปและขมวดความเข้าใจ เมื่ออ่านวรรณกรรมจบก็ได้ทำกิจกรรมในวันศุกร์เลย
คือกิจกรรมการสรุปองค์ความรู้หลังเรียน โดยผ่านเครื่องมือคิด Blackboard
Sheard กำหนดหัวข้อที่เรียนผ่านมาตลอด ๑ Quarter ผ่านคำถามให้ได้คิดและการร่วมพูดคุยถึงเรียนที่เรียนให้แต่ละคนได้เข้าใจมากขึ้น
และนำเสนอบนกระดานเพื่อเป็นการแนะนำพี่ๆว่าเราเรียนเรื่องอะไรไปบ้าง
จากนั้นให้เพิ่มไปว่า พี่ๆจะสามารถแตกหลักภาษาไปได้อย่างไร ในส่วนของวรรณกรรม
ได้ให้โจทย์ไป ๓ ข้อหลัก คือ แก่นของเรื่องที่อ่าน/แรงขับภายในของตัวละคร/วรรณกรรมเรื่องนั้นสะท้อนสภาพสังคมอย่างไร
เมื่อเสร็จแล้วให้ได้ลงมือทำงานของตน
พี่ที่สามารถแตกแขนงความเข้าใจออกมาเป็นหัวข้อย่อย ๆ ได้คือ พี่แจ็บ พี่น้ำ
พี่ฝ้าย ซึ่งสามารถแยกย่อยออกมาได้ครบตามที่เราเรียนในเรื่องของหลักภาษาได้เต็ม
๑๐๐% ส่วนพี่คน อื่น ๆ ก็สามารถที่จะแยกออกมาได้เช่นกัน
สิ่งที่งอกงามของพี่ๆในสัปดาห์นี้คือ สามารถแตกแขนงองค์ความรู้ที่เรียนไปออกมาได้
พร้อมทั้งถ่ายทอดความเข้าใจ ส่งต่อให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ไปกับเขาๆ ที่
ปัญหาที่พบคือ ในเรื่องของคำถามจากวรรณกรรมที่ว่า แรงขับภายในของตัวละคร
พี่บ้างคนยังไม่เข้าใจซึ่งคำว่า แรงขับภายในคืออะไร
วิธีในการแก้ปัญหาได้มีการใช้คำถามให้ได้คิดตาม
............................................................................................................................................................................................
สรุปการเรียนรู้ในสัปดาห์ที่ ๙ ของการเรียนในวิชาภาไทย ในสัปดาห์นี้ได้มีการปรับเปลี่ยนในเรื่องของกิจกรรมที่ทำในวันจันทร์และวันอังคารและหลักภาษาเรื่องของการเขียนอัตชีวประวัติของตนเองเป็นการสรุปหลังเรียนใน Quarter นี้ โดยเริ่มทำกิจกรรมในวันศุกร์เลย คือกิจกรรมการสรุปองค์ความรู้หลังเรียน โดยผ่านเครื่องมือคิด Blackboard Sheard กำหนดหัวข้อที่เรียนผ่านมาตลอด ๑ Quarter ผ่านคำถามให้ได้คิดและการร่วมพูดคุยถึงเรียนที่เรียนให้แต่ละคนได้เข้าใจมากขึ้น และนำเสนอบนกระดานเพื่อเป็นการแนะนำพี่ๆว่าเราเรียนเรื่องอะไรไปบ้าง จากนั้นให้เพิ่มไปว่า พี่ๆจะสามารถแตกหลักภาษาไปได้อย่างไร ในส่วนของวรรณกรรม ได้ให้โจทย์ไป ๓ ข้อหลัก คือ แก่นของเรื่องที่อ่าน/แรงขับภายในของตัวละคร/วรรณกรรมเรื่องนั้นสะท้อนสภาพสังคมอย่างไร เมื่อเสร็จแล้วให้ได้ลงมือทำงานของตน พี่ที่สามารถแตกแขนงความเข้าใจออกมาเป็นหัวข้อย่อย ๆ ได้คือ พี่นิว(ชาย) และ พี่มุก(ทัก) ซึ่งสามารถแยกย่อยออกมาได้ครบตามที่เราเรียนในเรื่องของหลักภาษาได้เต็ม ๑๐๐% ส่วนพี่คน อื่น ๆ ก็สามารถที่จะแยกออกมาได้เช่นกัน สิ่งที่งอกงามของพี่ๆในสัปดาห์นี้คือ สามารถแตกแขนงองค์ความรู้ที่เรียนไปออกมาได้ พร้อมทั้งถ่ายทอดความเข้าใจ ส่งต่อให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ไปกับเขาๆ ที่ ปัญหาที่พบคือ พี่บ้างคนมีงานที่ค้างจากการเรียนตลอด ๑ Quarter ทำให้ต้องกลับมาจัดการงานเก่าๆให้เสร็จ ซึ่งวิธีที่ครูใช้แก้ปัญหาคือการใช้คำถามให้ได้คิดตาม สิ่งนี้เกิดจากอะไร แล้วพี่จะจัดการกับสิ่งนี้อย่างไร และใช้การชื่นชม Empower เข้าไปเพื่อเป็นการสร้างแรงให้เขาอีกครั้งหนึ่ง
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
บันทึกการเรียนรู้ของพี่ ม.๑
สรุปการเรียนรู้ในสัปดาห์ที่ ๙ ของการเรียนในวิชาภาไทย ในสัปดาห์นี้ได้มีการปรับเปลี่ยนในเรื่องของกิจกรรมที่ทำในวันจันทร์และวันอังคารและหลักภาษาเรื่องของการเขียนอัตชีวประวัติของตนเองเป็นการสรุปหลังเรียนใน Quarter นี้ โดยเริ่มทำกิจกรรมในวันศุกร์เลย คือกิจกรรมการสรุปองค์ความรู้หลังเรียน โดยผ่านเครื่องมือคิด Blackboard Sheard กำหนดหัวข้อที่เรียนผ่านมาตลอด ๑ Quarter ผ่านคำถามให้ได้คิดและการร่วมพูดคุยถึงเรียนที่เรียนให้แต่ละคนได้เข้าใจมากขึ้น และนำเสนอบนกระดานเพื่อเป็นการแนะนำพี่ๆว่าเราเรียนเรื่องอะไรไปบ้าง จากนั้นให้เพิ่มไปว่า พี่ๆจะสามารถแตกหลักภาษาไปได้อย่างไร ในส่วนของวรรณกรรม ได้ให้โจทย์ไป ๓ ข้อหลัก คือ แก่นของเรื่องที่อ่าน/แรงขับภายในของตัวละคร/วรรณกรรมเรื่องนั้นสะท้อนสภาพสังคมอย่างไร เมื่อเสร็จแล้วให้ได้ลงมือทำงานของตน พี่ที่สามารถแตกแขนงความเข้าใจออกมาเป็นหัวข้อย่อย ๆ ได้คือ พี่นิว(ชาย) และ พี่มุก(ทัก) ซึ่งสามารถแยกย่อยออกมาได้ครบตามที่เราเรียนในเรื่องของหลักภาษาได้เต็ม ๑๐๐% ส่วนพี่คน อื่น ๆ ก็สามารถที่จะแยกออกมาได้เช่นกัน สิ่งที่งอกงามของพี่ๆในสัปดาห์นี้คือ สามารถแตกแขนงองค์ความรู้ที่เรียนไปออกมาได้ พร้อมทั้งถ่ายทอดความเข้าใจ ส่งต่อให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ไปกับเขาๆ ที่ ปัญหาที่พบคือ พี่บ้างคนมีงานที่ค้างจากการเรียนตลอด ๑ Quarter ทำให้ต้องกลับมาจัดการงานเก่าๆให้เสร็จ ซึ่งวิธีที่ครูใช้แก้ปัญหาคือการใช้คำถามให้ได้คิดตาม สิ่งนี้เกิดจากอะไร แล้วพี่จะจัดการกับสิ่งนี้อย่างไร และใช้การชื่นชม Empower เข้าไปเพื่อเป็นการสร้างแรงให้เขาอีกครั้งหนึ่ง
............................................................................................................................................................................................
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น